ค้นหาสินค้าที่ต้องการ

[ถอยกลับ]

 

1. หน้าจอสินค้าเคลื่อนไหว

สินค้าที่ลูกค้าต้องการบางครั้งในร้านค้าของเราอาจจะไม่มี อันเนื่องมาจาก สินค้านั้นขายดีจนหมดสต๊อก  หรือร้านค้าของเราไม่มีขาย แต่เพื่อลดการพลาดโอกาสทางการขายของสินค้าเรา เพื่อรักษาฐานของลูกค้า เราสามารถใช้หน้าจอค้นหาสินค้าที่ต้องการ ในร้านค้าอื่นๆ เพื่อ

การเข้าสู่หน้าจอสินค้าที่ต้องการมีด้วยกัน 2 วิธี คือ 1.  ใช้เม้าส์คลิกตรงข้อ ที่ 24 สินค้าที่ต้องการ ( หมายเลข 1)

                                                                       2.   คีย์หมายเลขข้อที่ต้องการในช่องสี่เหลี่ยมหลังข้อความ ระบุหมายเลขที่ต้องการ (หมายเลข 2)

ต่อจากนั้นให้เรากด ENTER ที่แป้นคีย์บอร์ด

                                                                                       (รูป 1)

 

เมื่อเรากด ENTER จากแป้นคีย์บอร์ดแล้วก็จะปรากฏหน้าจอเล็ก (รูป 2) เพื่อในเราใส่รหัสพนักงาน  และรหัสผ่านในตัวอย่างจะใช้ หมายเลข 11111

 แต่จะปรากฏเป็นเครื่องหมายดอกจันตรงช่องรหัสผ่าน  (หมายเลข 1)  ต่อจากนั้น ให้เราใช้เม้าส์คลิกตรง ตกลง[ENTER] (หมายเลข 2) เพื่อเข้าสู่หน้าจอ แต่ถ้าเราต้องการจะยกเลิก ที่จะเข้าสู่หน้าจอ ก็เพียงแต่ใช้เม้าส์คลิกตรง ยกเลิก[Esc] (หมายเลข 3) หน้อจอก็จะกลับไปยังหน้าจอหลัก

                           

                                                               รูปที่ 2

 

เมื่อเราคลิกตกลง ก็จะเข้าสู่หน้าจอ ค้นหาสินค้าที่ต้องการ  (รูป 3)

                                    หมายเลข 1  จะบอกชื่อของหน้าจอว่าเรากำลังทำงานอยู่ในหน้าจอสินค้าเคลื่อนไหว

        หมายเลข 2   F1= เอกสารใหม่ เมื่อเราต้องการจะใช้งานในหน้าจอนี้อีกครั้งหนึ่ง โดยที่เราไม่ต้องออกไปยังหน้าจอหลัก

                            F9= กลับเมนูระบบงานขาย เพื่อให้เรากลับไปยังหน้าจอหลักเมื่อเราไม่ต้องการใช้งานในหน้าจอนี้แล้วและเพื่อเข้าสู่หน้าจออื่นๆ

        หมายเลข 3   เลือกฝ่าย และผลิตภัณฑ์ ******ที่รหัสสินค้านั้นสังกัดอยู่  (ในตัวอย่าง คือ ฝ่าย  G   รหัสผลิตภัณฑ์ GW )

        หมายเลข 4   รหัสสินค้า คือ ใส่รหัสสินค้าที่เราต้องการจะค้นหาในร้านค้าอื่นๆ (ต้องระบุรหัสสินค้าอย่างน้อย 5 ตำแหน่ง) โดย1 ช่องต่อ 1 ตัวอักษร                                                                          (ตัวอย่างใช้ รหัสสินค้า WA1173 ) 

        หมายเลข 5   รหัสไปรษณีย์ ในเขตร้านค้าที่เราต้องการจะค้นหา ระบุอย่างน้อย 2 ตัวแรก  ( ตัวอย่างใช้ 10210) 

        หมายเลข 6   เลือกกลุ่มตาม โดยเราสามารถเลือกว่าจะให้ข้อมูลที่เราค้นหานั้นโชว์แบบ รหัสสินค้า --> ร้านค้า หรือ แบบ ร้านค้า--> รหัสสินค้า

        หมายเลข 7   เมื่อได้ทำตามขั้นตอนที่ 1 - 6 แล้ว เราก็คลิก OK เพื่อแสดงข้อมูล

                                                                             รูปที่ 3

 

1.1.1 ตัวอย่างที่ 1 ข้อมูลแสดงแบบ จัดกลุ่มตาม รหัสสินค้า --> ร้านค้า (รูปที่ 4)

  ตัวอย่างที่ 1 ค้นหารหัสสินค้า WA1173  ผลิตภัณฑ์ GW ฝ่าย G  รหัสสินค้า WA 1173 ในช่อง   รหัสไปรษณีย์  10120 (หมายเลข 1)

  หมายเลข 2  จะแสดงข้อมูลของวันที่และ เวลาเท่าไหร่  ในตัวอย่างจะเป็นข้อมูลของวันที่ 11 มีนาคม 2548 เวลา 12.00 Div (ฝ่าย) G  Product(ผลิตภัณฑ์) GW     ITEM (รหัสสินค้า) WA1173   รหัสไปรษณีย์ 10120 ยานนาวา

  หมายเลข 3 แสดงลำดับของรหัสสินค้าที่เราต้องการค้นหา

  หมายเลข 4 แสดงรหัสสินค้าที่เราค้นหา ทุกรหัส ZISE สี (เนื่องจากเราระบุรหัสสินค้าแค่ 5 ตัวอักษร โดยไม่ระบุ SIZE และสี)

  หมายเลข 5 แสดง รหัสไปรษณีย์ รหัสร้านค้าที่ขึ้นต้นโดยรหัสไปรษณีย์ที่เรากำหนด และ ชื่อร้านค้านั้นๆ ที่มีสินค้าที่เราค้นหา

  หมายเลข 6 แสดงจำนวนชิ้นของแต่ละ ITEM ว่ามีกี่ชิ้นในร้านค้าต่างๆ ที่ขึ้นต้นด้วยรหัสไปรษณีย์ที่เรากำหนด

  หมายเลข 7 แสดงจำนวนชิ้นของรหัสสินค้าที่เราค้นหาในร้านค้าที่ขึ้นต้นด้วยรหัสไปรษณีย์ที่เรากำหนดทั้งหมดว่ามีกี่ชิ้น

1

 

6

 

3

 

5

 

4

 

2

 

7

 

                                                                               รูปที่ 4

 

1.1.2 ตัวอย่างที่ 2  ข้อมูลแสดงแบบจัดกลุ่มตาม  ร้านค้า --> รหัสสินค้า (รูปที่ 5)

หมายเลข 1   แสดงข้อมูลเหมือนกับการค้นหา จากรหัสสินค้า --> ร้านค้า

หมายเลข 2   แสดงจำนวนลำดับร้านค้า ว่ารหัสสินค้าที่เราค้นหาค้นพบได้กี่ร้าน

หมายเลข 3   แสดงรหัสร้านค้า และชื่อร้านค้าที่พบรหัสสินค้าที่เราค้นหา

หมายเลข 4   แสดงรหัสสินค้า ที่เราค้นหา

หมายเลข 5   แสดงจำนวนสินค้าในแต่ละ ITEM

หมายเลข 7   แสดงผลรวมของรหัสสินค้าที่ถูกค้นพบ ที่แสดงผลอยู่ในหน้าจอ

                                                รูปที่ 5

 

[ถอยกลับ]